หน้าหลัก พระธรรม พระไตรปิฎก พระไตรปิฎกและอรรถกถาแปล
Search:
"อานนท์เอย ! พึงประกาศให้ทราบโดยทั่วกันว่า ธรรมวินัยอันใดที่เราได้แสดงแล้ว บัญญัติแล้ว ขอให้ธรรมวินัยอันนั้น จงเป็นศาสดาของพวกเธอแทนเราต่อไป เธอทั้งหลายจงมีธรรมวินัยเป็นที่พึ่งเถิด อย่าได้มีสิ่งอื่นเป็นที่พึ่งเลย"
พุทธโอวาทก่อนปรินิพพาน
อาจารย์วศิน อินทสระ

“ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นชื่อว่าเห็นเรา
ผู้ใดเห็นเรา ผู้นั้นชื่อว่าเห็นธรรม


 มีพุทธพจน์แห่งหนึ่ง สรุปธรรมทั้งหมดไว้ดังนี้
  ๑. ธรรมทั้งปวง มีฉันทะเป็นมูล (ฉนฺทมูลกา) ๖. ธรรมทั้งปวง มีสติเป็นเจ้าใหญ่ (สตยาธิปเตยฺยา)
  ๒. ธรรมทั้งปวง มีมนสิการเป็นต้นกำเนิด (มนสิการสมฺภวา) ๗. ธรรมทั้งปวง มีปัญญาเป็นยิ่งยอด (ปญฺญุตฺตรา)
  ๓. ธรรมทั้งปวง มีผัสสะเป็นที่ก่อตัวขึ้น (ผสฺสสมุทยา) ๘. ธรรมทั้งปวง มีวิมุติเป็นแก่น (วิมุตฺติสารา)
  ๔. ธรรมทั้งปวง มีเวทนาเป็นที่ชุมนุม (เวทนาสโมสรณา) ๙. ธรรมทั้งปวง มีอมตะเป็นที่หยั่งลง (อมโตคธา)
  ๕. ธรรมทั้งปวง มีสมาธิเป็นประมุข (สมาธิปมุขา) ๑๐. ธรรมทั้งปวง มีนิพพานเป็นที่สิ้นสุด (นิพพานปริโยสานา)
 

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต) :
สัมมาสมาธิและสมาธิแบบพุทธ

หน้าแรก : หมวดพระธรรม
หน้าแรก : พระไตรปิฎก

พระไตรปิฎกและอรรถกถาแปล ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย
(จำนวน ๙๑ เล่ม)
ขอขอบคุณเนื้อหาพระไตรปิฎก จากเว็บไซต์
http://www.84000.org
http://84000.org/tipitaka
http://www.watnyanaves.net
โปรแกรมเีรียนพระไตรปิฎก จากเว็บไซต์
http://www.learntripitaka.com
 
ที่ หมวด ชื่อหนังสือ รายละเอียด
พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๑ คลิกอ่าน
พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๒ คลิกอ่าน
พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๑ ภาค ๓ คลิกอ่าน
พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม ๒ คลิกอ่าน
พระวินัยปิฎก ภิกขุนีวิภังค์ เล่ม ๓ คลิกอ่าน
พระวินัยปิฎก มหาวรรค เล่ม ๔ ภาค ๑ คลิกอ่าน
พระวินัยปิฎก มหาวรรค เล่ม ๕ ภาค ๒ คลิกอ่าน
พระวินัยปิฎก จุลวรรค เล่ม ๖ ภาค ๑ คลิกอ่าน
พระวินัยปิฎก จุลวรรค เล่ม ๗ ภาค ๒ คลิกอ่าน
๑๐ พระวินัยปิฎก ปริวาร เล่ม ๘ คลิกอ่าน
๑๑ พระสุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค เล่ม ๑ ภาค ๑ คลิกอ่าน
๑๒ พระสุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค เล่ม ๑ ภาค ๒ คลิกอ่าน
๑๓ พระสุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย มหาวรรค เล่ม ๒ ภาค ๑ คลิกอ่าน
๑๔ พระสุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย มหาวรรค เล่ม ๒ ภาค ๒ คลิกอ่าน
๑๕ พระสุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค เล่ม ๓ ภาค ๑ คลิกอ่าน
๑๖ พระสุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค เล่ม ๓ ภาค ๒ คลิกอ่าน
๑๗ พระสุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์ เล่ม ๑ ภาค ๑ คลิกอ่าน
๑๘ พระสุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์ เล่ม ๑ ภาค ๒ คลิกอ่าน
๑๙ พระสุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์ เล่ม ๑ ภาค ๓ คลิกอ่าน
๒๐ พระสุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์ เล่ม ๒ ภาค ๑ คลิกอ่าน
๒๑ พระสุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์ เล่ม ๒ ภาค ๒ คลิกอ่าน
๒๒ พระสุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ เล่ม ๓ ภาค ๑ คลิกอ่าน
๒๓ พระสุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ เล่ม ๓ ภาค ๒ คลิกอ่าน
๒๔ พระสุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย สคาถวรรค เล่ม ๑ ภาค ๑ คลิกอ่าน
๒๕ พระสุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย สคาถวรรค เล่ม ๑ ภาค ๒ คลิกอ่าน
๒๖ พระสุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย นิทานวรรค เล่ม ๒ คลิกอ่าน
๒๗ พระสุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย นิทานวรรค เล่ม ๓ คลิกอ่าน
๒๘ พระสุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย สฬายตนวรรค เล่ม ๔ ภาค ๑ คลิกอ่าน
๒๙ พระสุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย สฬายตนวรรค เล่ม ๔ ภาค ๒ คลิกอ่าน
๓๐ พระสุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย มหาวราวรรค เล่ม ๕ ภาค ๑ คลิกอ่าน
๓๑ พระสุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย มหาวราวรรค เล่ม ๕ ภาค ๒ คลิกอ่าน
๓๒ พระสุตตันตปิฎก อังคุตรนิกาย เอกนิบาต เล่ม ๑ ภาค ๑ คลิกอ่าน
๓๓ พระสุตตันตปิฎก เอกนิบาต-ทุกนิบาต เล่ม ๑ ภาค ๒ คลิกอ่าน
๓๔ พระสุตตันตปิฎก อังคุตรนิกาย ติกนิบาต เล่ม ๑ ภาค ๓ คลิกอ่าน
๓๕ พระสุตตันตปิฎก อังคุตรนิกาย จตุกนิบาต เล่ม ๒ คลิกอ่าน
๓๖ พระสุตตันตปิฎก อังคุตรนิกาย ปัญจก-ฉักกนิบาต เล่ม ๓ คลิกอ่าน
๓๗ พระสุตตันตปิฎก อังคุตรนิกาย สัตตก-อัฏฐก-นวกนิบาต เล่ม ๔ คลิกอ่าน
๓๘ พระสุตตันตปิฎก อังคุตรนิกาย ทสก-เอกาทสกนิบาต เล่ม ๕ คลิกอ่าน
๓๙ พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ เล่ม ๑ ภาค ๑ คลิกอ่าน
๔๐ พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เล่ม ๑ ภาค ๒ ตอน ๑ คลิกอ่าน
๔๑ พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เล่ม ๑ ภาค ๒ ตอน ๒ คลิกอ่าน
๔๒ พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เล่ม ๑ ภาค ๒ ตอน ๓ คลิกอ่าน
๔๓ พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เล่ม ๑ ภาค ๒ ตอน ๔ คลิกอ่าน
๔๔ พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย อุทาน เล่ม ๑ ภาค ๓ คลิกอ่าน
๔๕ พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย อิติวุตตก เล่ม ๑ ภาค ๔ คลิกอ่าน
๔๖ พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย สุตตนิบาต เล่ม ๑ ภาค ๕ คลิกอ่าน
๔๗ พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย สุตตนิบาต เล่ม ๑ ภาค ๖ คลิกอ่าน
๔๘ พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย วิมานวัตถุ เล่ม ๒ ภาค ๑ คลิกอ่าน
๔๙ พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เปตวัตถุ เล่ม ๒ ภาค ๒ คลิกอ่าน
๕๐ พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๑ คลิกอ่าน
๕๑ พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ คลิกอ่าน
๕๒ พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ คลิกอ่าน
๕๓ พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๔ คลิกอ่าน
๕๔ พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรีคาถา เล่ม ๒ ภาค ๔ คลิกอ่าน
๕๕ พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ชาดก เล่ม ๓ ภาค ๑ คลิกอ่าน
๕๖ พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เอกนิบาตชาดก เล่ม ๓ ภาค ๒ คลิกอ่าน
๕๗ พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ทุกนิบาตชาดก เล่ม ๓ ภาค ๓ คลิกอ่าน
๕๘ พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ชาดก เล่ม ๓ ภาค ๔ คลิกอ่าน
๕๙ พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ชาดก เล่ม ๓ ภาค ๕ คลิกอ่าน
๖๐ พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ชาดก เล่ม ๓ ภาค ๖ คลิกอ่าน
๖๑ พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ชาดก เล่ม ๓ ภาค ๗ คลิกอ่าน
๖๒ พระสุตตันตปิฎก พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ชาดก เล่ม ๔ ภาค ๑ คลิกอ่าน
๖๓ พระสุตตันตปิฎก พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ชาดก เล่ม ๔ ภาค ๒ คลิกอ่าน
๖๔ พระสุตตันตปิฎก พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ชาดก เล่ม ๔ ภาค ๓ คลิกอ่าน
๖๕ พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย มหานิทเทส เล่ม ๕ ภาค ๑ คลิกอ่าน
๖๖ พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย มหานิทเทส เล่ม ๕ ภาค ๑ คลิกอ่าน
๖๗ พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย จูฬนิเทส เล่ม ๖ คลิกอ่าน
๖๘ พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค เล่ม ๗ ภาค ๑ คลิกอ่าน
๖๙ พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค เล่ม ๗ ภาค ๒ คลิกอ่าน
๗๐ พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย อปทาน เล่ม ๘ ภาค ๑ คลิกอ่าน
๗๑ พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย อปทาน เล่ม ๘ ภาค ๒ คลิกอ่าน
๗๒ พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย อปทาน เล่ม ๙ ภาค ๑ คลิกอ่าน
๗๓ พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย พุทธวงศ์ เล่ม ๙ ภาค ๒ คลิกอ่าน
๗๔ พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย จริยาปิฎก เล่ม ๙ ภาค ๓ คลิกอ่าน
๗๕ พระอภิธรรมปิฎก ธรรมสังคณี เล่ม ๑ ภาค ๑ คลิกอ่าน
๗๖ พระอภิธรรมปิฎก ธรรมสังคณี เล่ม ๑ ภาค ๒ คลิกอ่าน
๗๗ พระอภิธรรมปิฎก วิภังค์ เล่ม ๒ ภาค ๑ คลิกอ่าน
๗๘ พระอภิธรรมปิฎก วิภังค์ เล่ม ๒ ภาค ๒ คลิกอ่าน
๗๙ พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา-บุคคลบัญญัติ เล่ม ๓ คลิกอ่าน
๘๐ พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ เล่ม ๔ ภาค ๑ คลิกอ่าน
๘๑ พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ เล่ม ๔ ภาค ๒ คลิกอ่าน
๘๒ พระอภิธรรมปิฎก ยมก เล่ม ๕ ภาค ๑ ตอน ๑ คลิกอ่าน
๘๓ พระอภิธรรมปิฎก ยมก เล่ม ๕ ภาค ๑ ตอน ๒ คลิกอ่าน
๘๔ พระอภิธรรมปิฎก ยมก เล่ม ๖ ภาค ๒ คลิกอ่าน
๘๕ พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๑ คลิกอ่าน
๘๖ พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ คลิกอ่าน
๘๗ พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ คลิกอ่าน
๘๘ พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ คลิกอ่าน
๘๙ พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ คลิกอ่าน
๙๐ พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๖ คลิกอ่าน
๙๑ พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๗ คลิกอ่าน

ฟังธรรมะบรรยาย
(มากกว่า ๔,๐๐๐ ไฟล์)

อ่านพระไตรปิฎก
(คัมภีร์สำคัญทางพุทธศาสนา)
อ่านหนังสือธรรมะออนไลน์
(โดยพระเกจิอาจารย์ชื่อดัง)
วิธีปฏิบัติธรรม
(ธรรมะภาคปฏิบัติ)
 

จุดมุ่งหมายสูงสุดของพระพุทธศาสนา
     จุดหมายสูงสุด ของพระพุทธศาสนา พึงบรรลุได้ด้วยความสุขหรือด้วยข้อปฏิบัติที่มีความสุข มิใช่บรรลุด้วยความทุกข์ หรือด้วยข้อปฏิบัติที่เป็นทุกข์
      ผู้ปฏิบัติจะต้องไม่ติดใจหลงไหลในความสุขที่เกิดขึ้นแก่ตน ไม่ปล่อยให้ความสุขที่เกิดขึ้นนั้น ครอบงำ
        จิตใจของตน ยังมีจิตใจเป็นอิสระ สามารถก้าวหน้าไปในธรรมเบื้องสูง ต่อๆ ไป จนบรรลุความเป็นอิสระ
        หลุดพ้นโดยบริบูรณ์
      ซึ่งเมื่อบรรลุจุดหมายนั้นแล้ว ก็สามารถเสวยความสุขที่เคยเสวยมาแล้ว โดยที่ความสุขนั้น ไม่มีโอกาส
        ครอบงำจิตใจ ทำให้ติดพันหลงไหลได้เลย
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต)

หลักแห่งพระพุทธศาสนาโดยสรุป
     พุทธศาสนาคือวิชาและระเบียบปฏิบัติ เพื่อให้รู้สิ่งทั้งปวงถูกต้องตามที่เป็นจริงว่าอะไรเป็นอะไร สิ่งทั้งปวง มีสภาพตามที่เป็นจริง คือ ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ ไม่ใช่ตัวหรือของตัว ; แต่สัตว์ทั้งหลายยังหลงรัก หลงยึดติดสิ่งทั้งปวง เพราะอำนาจของการยึดมั่นที่ผิด ในพุทธศาสนามีวิธี ปฏิบัติเรียกว่า ศีล สมาธิ ปัญญา เพื่อใช้เป็นเครื่องมือ ตัดการติดการยึดมั่นนั้นเสีย อุปาทาน การยึดมั่นนั้นมีสิ่งที่ลงเกาะหรือจับยึด คือ ขันธ์ทั้งห้า คือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ
      เมื่อรู้จักขันธ์ทั้งห้า ตามที่เป็นจริง ก็จะสามารถเข้าใจสิ่งทั้งปวงจนถึงกับเบื่อหน่ายคลายความอยาก ไม่ยึดอะไร ติดอะไร และเราควรจะมีชีวิตอยู่อย่างที่เรียกว่า "เป็นอยู่ชอบ" คือให้ วันคืนเต็มไปด้วยความปีติ ปราโมทย์ อันเกิดมาจากการกระทำที่ดีที่งามที่ถูกต้องอยู่เป็นประจำ แล้วระงับความฟุ้งซ่าน เกิดสมาธิ เกิดความเห็นแจ้งได้เรื่อยๆ ไป จนกระทั่งเกิดความเบื่อหน่าย ความคลายออก ความหลุดพ้น และนิพพานได้ตามความเหมาะสมของสิ่งแวดล้อม
      ถ้าเราจะรีบเร่งทำให้ได้ผลเร็วขึ้น ก็มีแนวปฏิบัติที่เรียกว่า วิปัสสนาธุระ เริ่มตั้งแต่มี ความประพฤติบริสุทธิ์ มีใจบริสุทธิ์ มีความเห็นบริสุทธิ์ เรื่อยขึ้นไปจนถึงมีปัญญา คือความเห็นแจ้งบริสุทธิ์ ในที่สุดก็จะตัดกิเลสที่ผูกมัดคนให้ติดอยู่กับวิสัยโลกออกเสียได้ เรียกว่า การบรรลุมรรคผล
ท่านพุทธทาสภิกขุ : คู่มือมนุษย์



สงวนลิขสิทธิ์โดย ธรรมะพีเดีย.คอม
เว็บไซต์นี้จัดทำขึ้นเพื่อเผยแผ่พุทธศาสนา โดยไม่มุ่งหวังผลทางพาณิชย์
อนุญาตให้นำไปเผยแผ่เพื่อสืบต่อพุทธศาสนาได้ตามกุศลเจตนา

www.thammapedia.com
( ศูนย์เผยแผ่พระพุทธธรรม )
Copyright © 2008 ALL RIGHTS RESERVED
 
 
หน้าหลัก